วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2554

ปาล์มน้ำมัน โรค ที่พบ

ปาล์มน้ำมัน กับโรคที่พบ

โรคใบไหม้  เป็นโรคที่พบมากในระยะกล้า ปาล์มน้ำมัน โดยจะทําความเสียหายมากในแปลงเพาะกล้า ปาล์มน้ำมัน โดยทั่ว ๆ ไปจะเกิดอาการกับใบอ่อนเป็นส่วนมาก 

นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถจะเกิดกับต้น ปาล์มน้ำมัน ที่ปลูกในแปลงในช่วงระยะปีแรก  จะเกิดจุดเล็ก ๆ ลักษณะโปร่งใสกระจายอยู่ทั่วไป เมื่อแผลขยายเต็มที่ จะมีลักษณะบุ๋มสีน้ำตาลแดง มี ลักษณะบาง ขอบแผลนูนลักษณะฉ่ำน้ำมีวงสีเหลืองล้อมรอบแผล แผลมีลักษณะรูปร่างกลมรี ความยาวของแผลอาจถึง 7- 8 ซม.

เมื่อเกิดระบาดจะเกิดชะงักการเจริญเติบโต จึงไม่เหมาะในการนําไปปลูก ในกรณีระบาดรุนแรงต้นกล้าถึงตายได้ องค์ประกอบ เช่น ไทแรม แคปแทน อัตรา 50 กรัม / น้ำ 20 ลิตร ทุก ๆ 5-7 วัน ในระยะที่เริ่มมีการ ระบาด

 

โรคใบจุด ลักษณะแผลจะขยายตัวร่วมกันทําให้ใบไหม้ม้วนงอและ ฉีกขาด การเจริญเติบโตของต้นกล้า  ปาล์ม เป็นโรคที่พบในระยะกล้า  ปาล์มน้ำมัน  ในช่วงอายุ ตั้งแต่ 5 เดือนขึ้นไป โรคนี้พบ มีความรุนแรงน้อยกว่าโรคใบไหม้ และพบมากในสภาพที่มีอากาศแล้งจัดและความชื้นน้อย  ต่อมาจุดแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลดํา เมื่อใบที่เกิดเป็นกลุ่มแผลจะมีสีเหลืองรวมเป็นบริเวณกว้าง โรคจะระบาดโดยเริ่มจากแผลเหล่านี้ขยายกว้างออกไป และตายไปในที่สุด

 

โรคก้านทางใบบิด  พบมากกับ  ปาล์มน้ำมัน  ในแปลงปลูกอายุ 1 - 3 ปี โดยจะเป็นแผลเน่าใบย่อยจะแห้งฉีกขาดไป ก้านทางบริเวณนี้จะเหลือแต่ตอ ก้านทางใบจะหักโค้งลง เมื่อต้นปาล์มน้ำมัน สร้างดอกใหม่ก็จะแสดงอาการนี้อีก บางครั้งทางใบจะหักล้มโดยไม่แสดงอาการเน่า

 

โรคก้านทางใบเน่า พบครั้งแรกกับต้น  ปาล์มน้ำมัน  อายุประมาณ  ปี จะพบมากก้านทางใบจะเกิดรอยแตกสีน้ำตาลอมม่วง ตามความยาวของทางใบ เมื่อฉีกดูจะพบภายในเน่าเป็นสีน้ำตาล เริ่มจาก ปลายทางใบไปด้านโคนทางใบ

 

โรคยอดเน่า  ระบาดมากในช่วงฤดูฝน ส่วนมากจะพบกับ  ปาล์มน้ำมัน  อายุ 1 - 3 ปี ในสภาพน้ำขัง จะพบโรคนี้เป็นอันมาก ซึ่งเกิดจาก แบคทีเรีย Erwinia sp.

 

โรคตาเน่า  และ ใบเล็ก เป็นโรคที่พบกับ  ปาล์มน้ำมัน  อายุตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไประบาดมากในช่วงฤดูฝน จนกระทั่งเน่าแห้งทั้งใบจนสามารถดึงหลุดออกมาได้ ทางใบถัดไปจะเริ่มเหลืองอาการเน่าลุกลามถึงตา ทําให้ตาเน่า ไม่มีการแทงยอดใหม่ ต้น  ปาล์มน้ำมัน จะตาย แต่ถ้าสภาพไม่เหมาะสม เชื้อทําลายไม่ถึงตา จะมีการแทงยอดใหม่ออกมา แต่จะมีลักษณะผิดปกติ คือทางใบสั้น ปลายกุด มักจะพบประมาณ 1 - 4 ทาง แล้วจึงเกิดทางปกติ ขึ้นกับความรุนแรงของโรค

 

โรคทะลายเน่า  ลักษณะอาการ บนทลาย  ปาล์มน้ำมัน ก่อนจะสุก มักพบเส้นใยสีขาวของเชื้อขึ้นระหว่างผลจะเจริญเข้าไปในผลทําให้เปอร์เซ็นต์กรดไขมัน อิสระเพิ่มขึ้น ผลจะเน่าเป็นสีน้ำตาลดํามีลักษณะนุ่ม หากสภาพเหมาะสม เชื้อราจะสร้างดอกเห็ดบนทลาย ปาล์มน้ำมัน ควรฉีดพ่นด้วยสารเคมีหลังจากตัดส่วนที่เป็นโรคแล้วด้วยสารเคมี พวก  Antigro terzan,vitavax หรือ Antracol

 

โรคผลเน่า  โดยมากจะเกิดกับผล  ปาล์มน้ำมัน  ที่สุกแก่

 

โรคเหี่ยว  ลักษณะอาการ ต้น  ปาล์มน้ำมัน  อายุประมาณ 5 ปี จะแสดงอาการเหี่ยวอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มจากทางใบที่แก่ก่อนในเวลา 1 เดือน เมื่อดูลักษณะภายในของก้านทางพบว่าแสดงอาการเน่าจากปลายใบเข้าหาโคนใบ และเจริญเข้าตาทําให้ตาเน่าและต้น  ปาล์มน้ำมัน  ตายไปในที่สุด ป้องกันการลุกลาม โดยเผาทําลายต้นที่เป็นโรคทิ้ง

 

โรคลําต้นส่วนบนเน่า ลักษณะอาการ พบว่าส่วนบนของลําต้น  ปาล์มน้ำมัน  จากยอดประมาณ  0.5 เมตร จะหัก เมื่อผ่าดูจะพบเชื้อเข้าทางฐานของก้านทางใบ ทําให้เกิดอาการเน่าบริเวณลําต้น  ปาล์มน้ำมัน  ในขณะที่โคนและรากแสดงอาการ ปกติ  ปาล์มน้ำมัน  ที่เป็นโรคนี้ ในกรณีที่พบอาการใหม่ ๆ ควรถากส่วนที่เป็นโรคออกแล้วทาบริเวณแผล ด้วยสารป้องกันและกําจัดโรคพืช